ผลงานบัณฑิตสถาบันบัณฑิตศึกษา 2564-2565

ผลงานบัณฑิตสถาบันบัณฑิตศึกษา
ปีการศึกษา 2564-2565

ดร.เสลภูมิ  ไพเราะ

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบัน

ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ประจำ ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกสัตว์เลี้ยง คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


ปี พ.ศ. 2561

ได้รับรางวัลชมเชย จากการเสนอนำผลงานวิจัยชื่อ  ARSENIC EXPOSURE ALTERS MITOCHONDRIAL ACTIVITY, MITOCHONDRIAL BIOGENESIS AND MITOCHONDRIAL MEMBRANE POTENTIAL IN RAT CORTICAL ASTROCYTE CULTURES ในการประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง 2 ด้านของสารเคมี (Two Faces of Chemicals) ซึ่งจัดขึ้นโดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2561 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ปิยจิต วัชรศิษย์

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ EFFECTS OF GLYPHOSATE TREATMENT ON DNA DAMAGE IN UMBILICAL CORD-DERIVED MESENCHYMAL STEM CELLS AND DIFFERENTIATED HEPATOCYTES ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุม


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.พนิดา  นวสัมฤทธิ์

น.ส.รัศมีดารา  ครองศีลธรรม

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

น.ส. ฐิตา  แสงทองสุข

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ EFFECTS OF POLYSTYRENE MICROPLASTIC PARTICLES ON DNA DAMAGE IN HUMAN BRONCHIAL EPITHELIAL CELLS
ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ปิยจิต วัชรศิษย์

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ PrtN IS A TRANSCRIPTION REGULATOR OF PYOCIN S4 GENE IN Pseudomonas aeruginosa ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.มยุรี  เฟื่องทอง

นายศุภวิชญ์  ยอดพนาไพร

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

นายพิทวัส  กฤตธนอนันต์

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ THE EFFECT OF HERBICIDES ON ANTIBIOTIC SUSCEPTIBILITY OF HUMAN PATHOGEN, Stenotrophomonas maltophilia ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ไพบูลย์  วัฒนวิบูลย์

ปัจจุบัน

นักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนายาชีววัตถุ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์


ปี พ.ศ. 2560

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ Production of in-house monoclonal antibody for use as reagents in research ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ สัตยวิวัฒน์

นายกาญจน์ภพ กัณหะสุต

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ : อนามัยสิ่งแวดล้อม

ดร.ณัชพงษ์  สุวรรณวงศ์

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสรับทุน Postdoctoral ณ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์


ปี พ.ศ. 2560

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Discovery of nitric oxide-inducing activities of synthetic LAM glycan motifs prepared by scalable rapid syntheses ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ Carbohydrate Polymers ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 10.7

ได้รับรางวัลที่ 2 จากการเสนอนำผลงานวิจัยชื่อ Concise synthesis of mannose with thiol linker ในการประชุมสัมมนาวิชาการ เรื่อง Environmental Health: The Road to Thailand 4.0 ซึ่งจัดขึ้นโดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2560 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ     ดร.สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสทำ Postdoctoral
ณ The Ohio State University ,Columbus, USA


ปี พ.ศ. 2565

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Ag(I)-Catalyzed/Acid-Mediated Cascade Cyclization of ortho-Alkynylaryl-1,3-dicarbonyls to Access Arylnaphthalenelactones and Furanonaphthol Libraries via Aryl-Disengagement ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ Chemistry – An Asian Journal ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IF ในระดับ   4.568 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


ปี พ.ศ. 2562

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Divergent Synthesis of 3-Hydroxyfluorene and 4-Azafluorene Derivatives from ortho-Alkynylarylketones ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ The Journal of Organic Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IF ในระดับ 4.335 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


ปี พ.ศ. 2561

ได้รับรางวัล Outstanding Poster Award จากการนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อ Development of New Methodology to Synthesize 3-Hydroxyfluorene and 4-Azafluorene Derivatives ในการประชุมวิชาการ The 9th Junior International Conference on Cutting-Edge Organic Chemistry In Asia (Junior ICCEOCA-9)  ซึ่งจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 23 – 25 กันยายน 2562 ณ เมืองปูซาน ประเทศเกาหลี


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.จำเรียง  ธรรมธร

ดร.ปวิตรา เลาหไพศาล

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี


ดร.วราภรณ์  รอดผล

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี


ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสทำ Postdoctoral ณ Nanyang Technological University, Singapore


ปี พ.ศ. 2563

1. ได้รับรางวัลการนำเสนอผลงานโปสเตอร์ดีเด่นจากการนำเสนอผลวิจัย ชื่อ Iodine-Catalyzed Cyclization of Alkynylarylether Dimethylacetal for the Synthesis of 4-Acyl chromene จากการประชุมวิชาการ Pure and Applied Chemistry International Conference 2020 (PACCON 2020) ณ อิมแพ็คเมืองทองธานี  กรุงเทพฯ  

2. ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Synthesis of Naphtho [2,3-d] oxazoles via Ag(I) Acid-Mediated Oxazole- Benzannulation of ortho-Alkynylamidoarylketones ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ Journal of Organic Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 4.198 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย

3. ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ A Mechanistically Deceiving Formation of Aryl(1-indanyl)ketones via Acid- Catalyzed Cyclization of ortho-Alkynylarylmethanols ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ  Journal of Organic Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 4.198 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.จำเรียง  ธรรมธร

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสทำ Postdoctoral ณ The Hong Kong University of Science and Technology Clear Water Bay, Kowloon, Hong Kong, China


ปี พ.ศ. 2563

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Chemoselective acid-catalyzed [4 + 2]-cycloaddition reactions of ortho-quinone methides and styrenes/stilbenes/cinnamates ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ Organic & Biomolecular Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 3.876 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


อาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.พูนศักดิ์  พลอยประดิษฐ์

ดร.กรกมล  อัครเสรีนนท์

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ดร.คณาวุฒิ  กล่ำทอง

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ปัจจุบัน

ปัจจุบันรับราชการตำรวจ พิสูจน์หลักฐานจังหวัดฉะเชิงเทรา


ปี พ.ศ. 2564

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ An Expeditious Modular Hybrid Strategy for the Diversity-Oriented Synthesis of Lamellarins/Azalamellarins with Anticancer Cytotoxicity ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ The Journal of Organic Chemistry  ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IF ในระดับ 4.354 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย  


อาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.พูนศักดิ์  พลอยประดิษฐ์

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสทำ Postdoctoral ณ Nanyang Technological University, Singapore


ปี พ.ศ. 2562

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Rate Enhancement in CAN-Promoted Pd(PPh3)2Cl2‑CatalyzedOxidative Cyclization: Synthesis of 2‑Ketofuran-4-carboxylate Esters ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ Organic Letters ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 6.19 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ชาญศักดิ์  ทองซ้อนกลีบ

ดร.ณัฐวดี  ไชยสาร

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ดร.กัลยาณี  ปัญจะจอม

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสรับทุน Postdoctoral ณ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์


ปี พ.ศ. 2566

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Mn(OAc)3‑Mediated One-Pot Condensation-Oxidative Annulation of 2‑Alkynylanilines and 1,3-Ketoesters: Synthesis of 2‑Substituted Quinolines ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ The Journal of Organic Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IF ในระดับ 4.198 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย  


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ชาญศักดิ์  ทองซ้อนกลีบ

ปัจจุบัน

หลังสำเร็จการศึกษาได้มีโอกาสรับทุน Postdoctoral ณ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์


ปี พ.ศ. 2565

ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยหัวข้อ Synergistic Lewis–Brønsted Acid Catalysis in Cascade Cyclization of ortho-Alkynylaryl Cyclopropylketones for the Synthesis of 2,3-Dihydronaphtho[1,2-b]furans ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติชื่อ The Journal of Organic Chemistry ซึ่งเป็นวารสารที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับสากลมีค่า IFในระดับ 4.198 โดยผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับเกียรติให้ขึ้นปกวารสารวิชาการอีกด้วย


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.จำเรียง  ธรรมธร

ดร.กนกวรรณ  ใจธรรม

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

Ms. Ugyen Lhamo

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ EVALUATION OF ANTI-INFLAMMATORY AND ANTI-CANCER ACTIVITIES OF SPIKE MOSS Selaginella plana EXTRACTS ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.นพพร  ทัศนา

ปี พ.ศ. 2565

ได้รับรางวัลการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทการเสนอนำดีเด่น จากการเสนอผลงานวิจัยชื่อ EVALUATION OF ANTI-INFLAMMATORY AND ANTI-CANCER ACTIVITIES OF SPIKE MOSS Selaginella plana EXTRACTS ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง บทบาทและความท้าทายของอนามัยสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาประเทศ  (The Role and Challenges of Environmental Health in National Development) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.นพพร  ทัศนา

Mr. Yudis Ananda Putra

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ดร.ธีรพงษ์  เลิศอัศวกร

สาขาวิทยาศาสตร์เคมี

ปัจจุบัน

ดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ คณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล


ปี พ.ศ. 2562

ได้รับรางวัลในการประกวดโปสเตอร์วิชาการประเภทผลงานวิจัยดีเด่นจากผลงานวิจัยชื่อ THE CONCENTRATIONS OF PERFLUOROALKYL SUBSTANCES IN WATER SAMPLES FROM INDUSTRIAL AREA, RAYONG PROVINCE  ในการประชุมสัมมนาวิชาการ เรื่อง กลยุทธ์สู่นวัตกรรมทางอนามัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งจัดขึ้นโดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2562 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ


อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.จุฑามาศ  สัตยวิวัฒน์