ผลงานบัณฑิตคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2564-2565

ผลงานบัณฑิตคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ปีการศึกษา 2564-2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค

ปีการศึกษา 2564

ปัญญาประดิษฐ์สำหรับการตรวจคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังด้วยภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบใช้ปริมาณรังสีต่ำ


ผู้ทำงานวิจัย

  • นางสาวปริญดา สิทธิกูล
  • นางสาวสิชล ควรรับส่วน
  • นายอัครวัตร ไชยคำภา

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร. ฤดีรัตน์ กีรติวิทยายุต

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค


ปีการศึกษา 2565

การตรวจสอบผลกระทบในระยะยาวต่อความทรงจำของผู้ป่วยลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบอย่างรุนแรงที่ได้รับการเปลี่ยนลิ้นหัวใจผ่านสายสวนโดยใช้ฟังก์ชันนัล
เอ็มอาร์ไอ


ผู้ทำงานวิจัย

  • นายโชติวิทย์ โพธิชัย
  • นายสยาม เหลืองรุจินันท์
  • นายชนาภัทร ปราณี

อาจารย์ที่ปรึกษา
อพญ. น้ำฝน ทวีอัสนี

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค


ปีการศึกษา 2565

การพัฒนาอุปกรณ์ จำลองการตรวจด้วยเครื่อง MRI เพื่อลดการเคลื่อนไหวบริเวณศีรษะขณะตรวจด้วยเทคนิค fMRI ในอาสาสมัครเด็ก


ผู้ทำงานวิจัย

  • นางสาวนันทิกานต์ สงทิพย์
  • นางสาวพรรษชนก ปันทะรส
  • นางสาวปิยณิตา กลิ่นจำปา

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร. ฤดีรัตน์ กีรติวิทยายุต

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย์ (ต่อเนื่อง 2 ปี)

ปีการศึกษา 2565

Innovation cooling fabric to treat heat stroke for military training mission นวัตกรรมผ้าลดอุณหภูมิ เพื่อรักษาภาวะโรคลมแดดในภาระกิจการฝึกทหาร


ผู้ทำงานวิจัย

  • จ.อ. อนุรักษ์ อินทร์พินิจ
  • จ.อ. ธีระพงศ์ ศรีวัง

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.นพ.สุขสันต์  กนกศิลป์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย์ (ต่อเนื่อง 2 ปี)

ปีการศึกษา 2565

การเปรียบเทียบระยะเวลาในการปฏิบัติการของหน่วยการแพทย์ฉุกเฉินในช่วงก่อนและระหว่าง COVID-19 ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต Comparison Delay in Emergency Medical Services (EMS) Response Time Before and during Covid-19 in Mung Phuket District


ผู้ทำงานวิจัย

  • นายเกษมสุข ไม้พานิช
  • นายหรรษา ตาสุสี

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.นพ.สุขสันต์  กนกศิลป์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย์ (ต่อเนื่อง 2 ปี)

ปีการศึกษา 2565

ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินผ่านสายด่วน 1669 ของผู้ป่วยฉุกเฉินในอำเภอ แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย Factors Affecting Emergency Patient Access to Emergency Medical System pass Hotline 1669 in Mae Fah Luang District Chiang Rai


ผู้ทำงานวิจัย

  • นายสหกรณ์ ทาริยะ
  • นางสาวกมลนาถ ไชยวงค์

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.นพ.สุขสันต์  กนกศิลป์

นายทรงพล ศรีสิทธิมงคล

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัทภาพการแพทย์

ปีการศึกษา 2565

บทบาทของ Superbmicrovascular imaging(SMI) ในการวินิจฉัยแยกรอยโรคลวงของผู้ป่วยไขมันเกาะตับ (Value Superb Microvascular Imaging ( SMI ) in characterization of nodular type focal fat sparing and true hepatic nodules in background of fatty liver)


อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิง จิรพร เหล่าธรรมทัศน์

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเชษฎ์ สิริพงษ์สกุล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวและสุขภาพ

ปีการศึกษา 2565

การเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายแบบแรงต้าน และการออกกำลังกายแบบแรงต้านร่วมกับการจำกัดการไหลเวียนเลือดที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและประสิทธิภาพการเดินในกลุ่มวัยผู้ใหญ่


ผู้ทำงานวิจัย

  • ภูมินทร์ พิลามาศ
  • พิจักษณา สมัครเขตการณ์

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.พัชรพร  พ่อค้าชำนาญ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวและสุขภาพ

ปีการศึกษา 2565

ผลของท่าทางศีรษะยื่นไปข้างหน้าต่อการทรงตัวของบุคคลในวัยทำงานแบบนั่งโต๊ะ


ผู้ทำงานวิจัย

  • สุชานันท์ โททรัพย์
  • ชนินาถ หงส์คำ
  • สุชญา ชูส่งแสง

อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์
อ.ดร.วรพงษ์ คงทอง

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวและสุขภาพ

ปีการศึกษา 2565

ผลเฉียบพลันของการออกกำลังกายด้วยการสั่นสะเทือนทั่วร่างกายต่อการทำงานของประสาทกล้ามเนื้อขาส่วนล่างในผู้ที่หายจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019


ผู้ทำงานวิจัย

  • สุธิตา ยูโซ๊ะ
  • พิชชากร เอมศรีกุล
  • ศุภิสรา  เพชรแสงรุ่งโรจน์

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อัจฉรียา กสิยะพัท
อ.เมธี จินะโกฎิ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวและสุขภาพ

ปีการศึกษา 2565

ผลฉับพลันการออกกําลังกายแบบหนักสลับเบาร่วมกับการรับประทานชาเขียวต่อการเผาผลาญพลังงานของร่างกายในผู้ที่มีภาวะอ้วนรุนแรง


ผู้ทำงานวิจัย

  • ศศิวิมล แซ่ลี่
  • กรกนก น้ําค้าง
  • อติญา ดีชื่น

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.ธันยากานต์ วรเศรษฐวัฒน์
อ.ดร.อาพรรณชนิต ศิริแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวและสุขภาพ

ปีการศึกษา 2565

ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกประกอบเพลงต่อกระแสประสาทสั่งการกล้ามเนื้อรยางค์ ขา การทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือดและการเปลี่ยนแปลง ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพในน้ำลายในผู้สูงอายุ


ผู้ทำงานวิจัย

  • ปุณิกา จีรธัญธรณ์
  • ลภน สุรพลชัย
  • พันกร ดรบุญล้น

อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อัจฉรียา กสิยะพัท
อ.เมธี จินะโกฎิ